สถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อ
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
(COVID-19)
|
วัคซีนป้องกันโควิด-19
หมายเหตุ ประเทศไทยมีแผนจะใช้วัคซีนป้องกันโควิด-19 ของบริษัท AZ (ของอังกฤษ) เป็น DNA vaccine (ถูกใส่ไว้ในเชื้อไวรัสอะดิโนของลิงซิมแปนซี ถือว่าเป็น lived vaccine) และ Sinovac (ของจีน) เป็น inactivated vaccine (เชื้อตาย)
*****กระทรวงสาธารณสุข เผยแผนการฉีดวัคซีนโควิด 19 แบ่งเป็น 3 ระยะ*****
**ระยะแรก ก.พ.-เม.ย.นี้ 2 ล้านโดส ใน 5 จังหวัดควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า อสม. 8 หมื่นคน เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค 2 หมื่นคน และกลุ่มเสี่ยง 9 แสนคน เพื่อลดความรุนแรงของโรคและการเสียชีวิต
**ระยะที่ 2 พ.ค.-มิ.ย. 26 ล้านโดส ในกลุ่มเสี่ยงทั่วประเทศ และ
**ระยะที่ 3 ปลายปี 2564 ให้ครอบคลุมคนไทยมากที่สุด
สำหรับการดำเนินการวัคซีนโควิด 19 ของประเทศไทย คณะกรรมการวิชาการเห็นชอบให้ดำเนินการเป็น 3 ระยะ
#ระยะที่ 1 จัดหาวัคซีนไว้ 2,000,000 โดส แบ่งเป็น
เดือนกุมภาพันธ์ 200,000 โดส
มีนาคม 800,000 โดส และ
เมษายน 1,000,000 โดส
***โดยฉีดคนละ 2 เข็ม ห่างกันประมาณ 4 สัปดาห์***
เป้าหมายคือการลดการป่วยที่มีอาการรุนแรงและผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด 19 ในพื้นที่ที่มีการระบาดมากที่สุดก่อนคือ พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 5 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร ระยอง ชลบุรี จันทบุรี และตราด
กลุ่มที่จะดำเนินการฉีดก่อนคือ
1) กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขด่านหน้า ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึง
2) อสม. 80,000 คน
3) เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมโรค 20,000 คน และ
4) บุคคลทั่วไปที่มีโรคประจำตัวเสี่ยงต่อการเสียชีวิต เช่น โรคทางเดินหายใจเรื้อรังรุนแรง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็ง เบาหวาน และ
5) กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
รวม 900,000 คน
หากมีส่วนที่เหลือจะเก็บสำรองไว้กรณีเกิดการระบาดรุนแรงในชุมชนเพื่อยับยั้งการระบาดของโรค
#ระยะที่ 2 ช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2564 จำนวน 26 ล้านโดส ฉีดให้กับกลุ่มเสี่ยงทั่วประเทศ
#ระยะที่ 3 ช่วงปลายปี 2564 ถึงต้นปี 2565 จะฉีดให้ประชาชนทั่วไปให้ครอบคลุมมากที่สุด ให้เกิดภูมิคุ้นกันในชุมชน เพื่อตัดวงจรการระบาดของโรค
ทั้งนี้ องค์การเภสัชกรรมจะเป็นผู้นำเข้าและขนส่งกระจายไปยังโรงพยาบาลในสังกัดทุกระดับ โรงพยาบาลรัฐและเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้เข้าถึงประชาชนอย่างครอบคลุม
เริ่มลงทะเบียนตรวจสอบกลุ่มเสี่ยงที่จะฉีดวัคซีนปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ จัดระบบและซักซ้อมความเข้าใจในการฉีดวัคซีน การขนส่ง การเก็บรักษา และการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์หลังได้รับวัคซีน
*****กระทรวงสาธารณสุข เผยแผนการฉีดวัคซีนโควิด 19 แบ่งเป็น 3 ระยะ*****
**ระยะแรก ก.พ.-เม.ย.นี้ 2 ล้านโดส ใน 5 จังหวัดควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า อสม. 8 หมื่นคน เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค 2 หมื่นคน และกลุ่มเสี่ยง 9 แสนคน เพื่อลดความรุนแรงของโรคและการเสียชีวิต
**ระยะที่ 2 พ.ค.-มิ.ย. 26 ล้านโดส ในกลุ่มเสี่ยงทั่วประเทศ และ
**ระยะที่ 3 ปลายปี 2564 ให้ครอบคลุมคนไทยมากที่สุด
สำหรับการดำเนินการวัคซีนโควิด 19 ของประเทศไทย คณะกรรมการวิชาการเห็นชอบให้ดำเนินการเป็น 3 ระยะ
#ระยะที่ 1 จัดหาวัคซีนไว้ 2,000,000 โดส แบ่งเป็น
เดือนกุมภาพันธ์ 200,000 โดส
มีนาคม 800,000 โดส และ
เมษายน 1,000,000 โดส
***โดยฉีดคนละ 2 เข็ม ห่างกันประมาณ 4 สัปดาห์***
เป้าหมายคือการลดการป่วยที่มีอาการรุนแรงและผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด 19 ในพื้นที่ที่มีการระบาดมากที่สุดก่อนคือ พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 5 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร ระยอง ชลบุรี จันทบุรี และตราด
กลุ่มที่จะดำเนินการฉีดก่อนคือ
1) กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขด่านหน้า ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึง
2) อสม. 80,000 คน
3) เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมโรค 20,000 คน และ
4) บุคคลทั่วไปที่มีโรคประจำตัวเสี่ยงต่อการเสียชีวิต เช่น โรคทางเดินหายใจเรื้อรังรุนแรง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็ง เบาหวาน และ
5) กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
รวม 900,000 คน
หากมีส่วนที่เหลือจะเก็บสำรองไว้กรณีเกิดการระบาดรุนแรงในชุมชนเพื่อยับยั้งการระบาดของโรค
#ระยะที่ 2 ช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2564 จำนวน 26 ล้านโดส ฉีดให้กับกลุ่มเสี่ยงทั่วประเทศ
#ระยะที่ 3 ช่วงปลายปี 2564 ถึงต้นปี 2565 จะฉีดให้ประชาชนทั่วไปให้ครอบคลุมมากที่สุด ให้เกิดภูมิคุ้นกันในชุมชน เพื่อตัดวงจรการระบาดของโรค
ทั้งนี้ องค์การเภสัชกรรมจะเป็นผู้นำเข้าและขนส่งกระจายไปยังโรงพยาบาลในสังกัดทุกระดับ โรงพยาบาลรัฐและเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้เข้าถึงประชาชนอย่างครอบคลุม
เริ่มลงทะเบียนตรวจสอบกลุ่มเสี่ยงที่จะฉีดวัคซีนปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ จัดระบบและซักซ้อมความเข้าใจในการฉีดวัคซีน การขนส่ง การเก็บรักษา และการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์หลังได้รับวัคซีน
![]()
|
![]()
|
พื้นที่ควบคุมโรค ตามประกาศกรมควบคุมโรค สธ.
(เรียงลำดับตามวันเวลาที่มีการอัพเดท)
(เรียงลำดับตามวันเวลาที่มีการอัพเดท)
จังหวัดที่กำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด (สีแดง) 5 จังหวัด (updated 09 ม.ค. 64):
สมุทรสาคร (เข้มงวด) สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี
สมุทรสาคร (เข้มงวด) สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี
มาตรการดำเนินการพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) ตามแผนที่มาตรการ
***ขั้นที่ 1*** จำกัดเวลาเปิด-ปิดสถานประกอบการ ปิดสถานที่เสี่ยง จับกุมผู้มั่วสุมผิดกฎหมาย ห้ามรวมกลุ่มคน ปิดโรงเรียน สอนออนไลน์ ไม่เดินทางข้ามจังหวัด Work from Home ค้นหาผู้ติดเชื้อเชิงรุก เริ่ม 4 ม.ค.64 เวลา 06.00 น. ถึง 1 ก.พ.64 เวลา 06.00 น. ***ขั้นที่ 2*** จำกัดเวลาเปิด-ปิดสถานที่เพิ่มมากขึ้น ปิดสถานที่เสี่ยง เร่งค้นหา จับกุมบุคคล มั่วสุม ผิดกฎหมาย งดกิจกรรมรวมกลุ่ม เพิ่มความเข้มข้นควบคุมการเดินทางข้ามจังหวัด สถานศึกษายังคงหยุดเรียน เร่งรัดทำงาน Work from Home ค้นหาผู้ติดเชื้อเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง จำกัดเวลาออกนอกเคหะสถาน ช่วงเวลา ตามที่ นรม./ ผอ.ศบค. เห็นชอบ ในกรอบที่ ศบค.กำหนด |
คำแนะนำ/ แนวทาง/ คู่มือที่เกี่ยวข้องกับ COVID-19
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
ภัยสุขภาพที่น่าสนใจ
เอกสารสำคัญ
ประมวลคำสั่ง ทบ./ ประกาศ พบ.
![]()
|
คู่มือ/แนวทาง
![]()
![]()
|
แนวทางการควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในทหาร
![]()
![]()
|
|
เกณฑ์ในการสอบสวนโรคติดต่ออันตราย
![]()
|
คู่มือ แนวทาง แบบฟอร์ม
![]()
|
![]()
|
![]()
![]()
|
![]()
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
แบบรายงาน (word / pdf. files)
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
แบบรายงาน (Excel files)
![]()
|
![]()
|
![]()
|
แบบสอบถามที่ใช้ในการสอบสวนการระบาดของโรค กองระบาดวิทยา คร.สธ. ปี 63
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|